คำถามหลัก (Big Question) : สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีกระบวนการในการปรับตัวให้เข้ากับธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างไร
ภูมิหลังของปัญหา :
สิ่งมีชีวิตในโลกมีมากมายหลายชนิด แต่ละชนิดก็มีความแตกต่างกัน อาทิ เช่น ลักษณะทางพันธุกรรม แหล่งที่อยู่อาศัย รูปแบบการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ โดยมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจะมีความสัมพันธ์กันทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งสิ่งหนึ่งที่ช่วยให้สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ กับการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ที่นับวันจะเสื่อมโทรมลง นั้นคือกระบวนการปรับตัว ด้วยวิธีการพิเศษของสิ่งมีชีวิตแต่ละสิ่ง เริ่มตั้งแต่ จุลชีวิตขนาดเล็กไปจนถึงสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่ และในร่างกายของเรามีสิ่งมีชีวิตมากมายมหาศาลที่อาศัยอยู่ตามอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกาย ซึ่งมีทั้งส่งผลดีต่อร่างกายช่วยในการต่อต้านและทำลายเชื้อโรคในร่างกาย และผลเสียต่อร่างกาย ทำให้ร่างกายอ่อนแอส่งผลทำให้เกิดโรคภัยต่างๆตามมา
ดังนั้นจึงจำเป็นที่นักเรียนต้องเรียนรู้เกี่ยวกับ กระบวนการดำเนินชีวิตของสิ่งมีชีวิตที่ปรับตัวเข้ากับรูปแบบของธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไป และเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันโดยพึ่งพาอาศัยกันได้อย่างสมดุลและดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ
เป้าหมายของความเข้าใจ (Understanding Goals) :
1. เพื่อศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและกระบวนการในการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กให้เข้ากับธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างสมดุล
2. เห็นคุณค่า และความสัมพันธ์ของความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตกับมนุษย์ รวมทั้งรักษาสมดุลของสภาพแวดล้อม เพื่อทำให้ความหลากหลายทางชีวภาพคงอยู่ต่อไปได้
ปฏิทินแผนจัดกิจกรรมหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ PBL
(Problem Based Learning)
หน่วยการเรียนรู้ “โลกของจุลินทรีย์” (Micro Organisms of world)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
กิจกรรมคู่ขนาน
|
11
|
โจทย์
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Key Question
- นักเรียนคิดว่าสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
Brainstorms
Round Robin
Show and share
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- คลิปวีดีโอ
- ห้องสมุด
|
- ครูให้นักเรียนดูคลิป ความหลากหลายทางชีวภาพ
- แบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาข้อมูล
1. การจำแนกกลุ่มชองสิ่งมีชีวิต
2. ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์
3.ความหลายทางชีวภาพของจุลินทรีย์
4. ความหลากหลายทางพันธุกรรม
5. ความหลากหลายของระบบนิเวศ
6. ประโยชน์ของจุลินทรีย์ในด้านต่างๆ
- แต่ละกลุ่มนำเสนอให้เพื่อนและครูฟังพร้อมทั้งสรุปความเข้าใจของตนเองในรูปแบบชาร์ตความรู้ - นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ดูคลิป ความหลากหลายทางชีวภาพ
- การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการจำแนกกลุ่มชองสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ ความหลายทางชีวภาพของจุลินทรีย์
ความหลากหลายทางพันธุกรรม ความหลากหลายของระบบนิเวศ ประโยชน์ของจุลินทรีย์ในด้านต่างๆ
- วางแผนออกแบบการนำเสนอ
ชิ้นงาน
- ชาร์ต
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตจำแนกกลุ่มชองสิ่งมีชีวิต
ต่างๆ หลากหลายของระบบนิเวศ ประโยชน์ของจุลินทรีย์ในด้านต่างๆได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะICT
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
หนึ่งงานหนึ่งล้านแรงบันดาลใจ
|
12
|
โจทย์
จุลินทรีย์กับการเกษตรและสิ่งแวดล้อม
Key Questions
เราจะนำจุลินทรีย์ไปใช้กับการเกษตรและสิ่งแวดล้อม
ประโยชน์ได้อย่างไรบ้าง
เครื่องมือคิด
Black board
Share
Brainstorms
Flow chart
Show and share
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- คลิปวีดีโอ
- ห้องสมุด
|
- นักเรียนดูคลิปการทำปุ๋ยหมัก
จากเศษวัสดุธรรมชาติ
- นักเรียนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ
1.การใช้จุลินทรีย์ในการกำจัดศัตรูพืช
( สารชีวินทรีย์ : Biopesticides )
2. การใช้ปุ๋ยชีวภาพเพื่อทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี 3. จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย 4. การผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสีย 5. การใช้จุลินทรีย์ในการกำจัดของเสียแบ่งกลุ่ม
- นักเรียนเตรียมอุปกรณ์ในการทำปุ๋ยหมัก
- นักเรียนทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ดูคลิปการทำปุ๋ยหมัก
จากเศษวัสดุธรรมชาติ
- การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการใช้จุลินทรีย์ในการกำจัดศัตรูพืช
( สารชีวินทรีย์ : Biopesticides )
การใช้ปุ๋ยชีวภาพเพื่อทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี จุลินทรีย์ที่ใช้ในการบำบัดน้ำเสีย การผลิตก๊าซชีวภาพจากน้ำเสีย การใช้จุลินทรีย์ในการกำจัดของเสีย
- วางแผนออกแบบการนำเสนอ - การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับจุลินทรีย์ในการกำจัดศัตรูพืช
ชิ้นงาน
- ปุ๋ยหมักชีวภาพ
- จุลินทรีย์ในการกำจัดศัตรูพืช
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจสามารถอธิบายเกี่ยวกับจุลินทรีย์กับการเกษตรและสิ่งแวดล้อม
รวมทั้งสามารถใช้จุลินทรีย์ในการกำจัดศัตรูพืช ใช้ปุ๋ยชีวภาพเพื่อทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีในการปลูกผักได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะICT
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
หนึ่งงานหนึ่งล้านแรงบันดาลใจ
|
13
|
โจทย์
จุลินทรีย์กับอาหาร
Key Questions
เราจะตรวจสอบสารเจือปนในอาหารได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Black board
Share
Brainstorms
Flow chart
Show and share
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- คลิปวีดีโอ
- ห้องสมุด
|
-
ดูคลิป การเน่าเสียของอาหาร
-
นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับ
*
ปริมาณความชื้นของอาหาร
* ความเข้มข้นของอาหาร * สารเคมีในอาหาร * ปริมาณออกซิเจนของจุลินทรีย์ * อุณหภูมิ * สภาพความเป็นกรดด่าง
-
นักเรียนตรวจสอบสารเจือปนในอาหาร พร้อมทั้งสรุปผลในรูปแบบ Flow
chart
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ดูคลิป
การเน่าเสียของอาหาร
-
การศึกษาเกี่ยวกับ
*
ปริมาณความชื้นของอาหาร
* ความเข้มข้นของอาหาร * สารเคมีในอาหาร * ปริมาณออกซิเจนของจุลินทรีย์ * อุณหภูมิ * สภาพความเป็นกรดด่าง
-
ตรวจสอบสารเจือปนในอาหาร
ชิ้นงาน
-
Flow chart สารเจือปนในอาหาร
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถตรวจสอบสารเจือปนในอาหาร และสามารถดูแลสุขภาพร่างกายของตนเองได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะICT
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
หนึ่งงานหนึ่งล้านแรงบันดาลใจ
|
14
- 15
|
โจทย์
จุลินทรีย์กับอุตสาหกรรม
Key Questions
จุลินทรีย์นำไปใช้เกี่ยวกับอุตสาหกรรมได้อย่างไรบ้าง
เครื่องมือคิด
Black board
Share
Brainstorms
Flow chart
Show and share
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- คลิปวีดีโอ
- ห้องสมุด
|
- การศึกษาเกี่ยวกับจุลินทรีย์กับอุตสาหกรรม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
- ผลิตภัณฑ์ที่อาศัยจุลินทรีย์ในการผลิต
1. เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
( Alcohol beverage ) ที่รู้จักกันดีคือ เบียร์ เหล้า
และไวน์ เป็นต้น
2. ยาปฏิชีวนะ 3. อาหารและอาหารเสริม เช่น ซีอิ้ว เต้าเจี้ยว น้ำปลา ปลาร้า เป็นต้น 4. ก๊าซชีวภาพ ได้จากการหมักมูลสัตว์ หรือเศษใบไม้ 5. ผลิตภัณฑ์นมหมัก เช่น นมเปรี้ยวหรือโยเกิตร์ จะอาศัยแบคทีเรียแล็คโตบาซิลลัสทำการหมักน้ำนม ทำให้เกิดกรดและกลิ่นรสที่ต้องการ
-
นักเรียนทำผลิตภัณฑ์นมหมัก เช่น นมเปรี้ยวหรือโยเกิตร์ ผักดอง พร้อมทั้งสรุปกระบวนการทำให้เพื่อนและครูฟัง
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- การศึกษาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่อาศัยจุลินทรีย์ในการผลิต
- การศึกษากระบวนการทำโยเกิตร์ และผักดอง
ชิ้นงาน
- โยเกิตร์ และผักดอง
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับการนำจุลินทรีย์ไปใช้กับอุตสาหกรรม
เช่นการผลิต. อาหารและอาหารเสริม
เช่น ซีอิ้ว เต้าเจี้ยว น้ำปลา ปลาร้า สามารถทำโยเกิตร์
และผักดอง รับประทานเองได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะICT
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
หนึ่งงานหนึ่งล้านแรงบันดาลใจ
|
16
|
โจทย์
การหมักไวท์
Key Questions
- นักเรียนจะสามารถเปลี่ยนน้ำผลไม้(ต้มกับน้ำตาล) ให้เป็นไวท์ผลไม้แต่ละประเภทได้อย่างไร?
- เราจะหมักข้าวหมากและไวท์ให้มีคุณภาพได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
Black board
Share
Brainstorms
Flow chart
Show and share
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- คลิปวีดีโอ
- ห้องสมุด
|
- ศึกษากระบวนการทำงานของจุลินทรีย์โดยการหมักไวท์และข้าวหมาก
- นักเรียนเตรียมอุปกรณ์ในการหมักไวท์(ผลไม้ตามฤดูกาล)และข้าวหมาก(ชนิดของข้าว)
-นักเรียนลงมือหมักไวท์และข้าวหมากตามกระบวนการที่วางแผนไว้
- นักเรียนบันทึกผลจากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของไวท์และข้าวหมาก
(ฟอง สี กลิ่น ค่า PH)
|
ภาระงาน
- การศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการทำงานของจุลินทรีย์โดยการหมักไวท์และข้าวหมาก
- การเตรียมอุปกรณ์ในการหมักไวท์
- การบันทึกผลจากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของไวท์และข้าวหมาก
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถเปลี่ยนน้ำผลไม้(ต้มกับน้ำตาล)ให้เป็นไวท์ผลไม้โดยการทำงานของยีสน์
รวมทั้งสามารถอธิบายขั้นตอนการทำไวน์ได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะICT
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
|
17
-18
|
โจทย์
จุลินทรีย์กับร่างกาย / การดูแลสุขภาพ
Key Questions
- นักเรียนคิดว่าเชื้อโรคที่อยู่รอบๆตัวเราเกิดขึ้นได้อย่างไร?
- เราจะมีวิธีดูแลสุขภาพร่างกายของเราอย่างไรเพื่อให้ห่างไกลจากโรคต่างๆ
เครื่องมือคิด
Brainstorms
Round Robin
Show and share
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- คลิปวีดีโอ
- ห้องสมุด
|
- นักเรียนดูภาพ ของโรคต่างๆ
- นักเรียนแบ่งกลุ่มๆละ 3 – 4 คน ศึกษาค้นคว้าดังนี้
- เชื้อโรคต่างๆเช่น
เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา
เชื้อโรคที่ปนเปื้อนในอาหาร ฯลฯ พร้อมทั้งศึกษาเกี่ยวกับสาเหตุ
ลักษณะอาการ วิธีป้องกัน การดูแลสุขภาพ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนออกแบบการนำเสนอให้เพื่อนและครูฟังเช่น
บทบาทสมมติ คลิปวิดีโอ วิทยากร เป็นต้น
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอแลกเปลี่ยนให้เพื่อนกลุ่มอื่นดูพร้อมทั้งตอบคำถาม
และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันก่อเอง
และภูมิคุ้มกันรับมา
- นักเรียนศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชนเช่น
โรงพยาบาล เพื่อเก็บข้อมูลแล้วร่วมกันวางแผนเผยแพร่ ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ
นักเรียนเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ เช่น
ไข้เลือดออก มือเท้าปากเปื่อย โรคผิวหนัง
เป็นต้น
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ดูภาพของโรคต่างๆ
- การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเชื้อโรคต่างๆเช่น
เชื้อไวรัส เชื้อแบคที่เรีย เชื้อรา
เชื้อโรคที่ปนเปื้อนในอาหาร ฯลฯ
- วางแผนออกแบบการนำเสนอ - การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆ เช่น ไข้เลือดออก มือเท้าปากเปื่อย
โรคผิวหนัง
เป็นต้น
ชิ้นงาน
- นำเสนอภูมิคุ้มกันในร่างกาย
- เผยแพร่ความรู้เรื่องโรค
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับกลไกการป้องกันและการทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม
การเกิดโรคที่เกิดจากความผิดปกติของภูมิคุ้มกันและจากการได้รับเชื้อโรคต่างๆ รวมทั้งสามารถดูแลสุขภาพร่างกายของตนเองได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะICT
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
หนึ่งงานหนึ่งล้านแรงบันดาลใจ
|
19
- 20
|
โจทย์
สรุปและถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้
Key Questions
- นักเรียนคิดว่าเราจะถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ
และร่วมเรียนรู้ได้อย่างไร
- นักเรียนคิดว่า รูปแบบการนำเสนอเรื่องที่ตนเองได้เรียนรู้
ที่น่าสนใจควรเป็นอย่างไร
-
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้ จากการเรียนรู้หน่วย “โลกของจุลินทรีย์”
นักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง
และอะไรที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม
เครื่องมือคิด
Black board
Share
Brainstorms
Flow chart
Show and share
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศห้องเรียน
|
-
ครูและนักเรียนร่วมทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
-
นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็น
-
ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ในหน่วย
“โลกของจุลินทรีย์”
- นักเรียนจับฉลากแบ่งกลุ่มๆละ
4 คน แต่ละกลุ่มออกแบบ รูปแบบการนำเสนอ เพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้
- นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมอุปกรณ์และจัดสถานที่สำหรับนำเสนองานของตนเอง
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอ และถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนให้กับน้องๆ
คุณครูและผู้ปกครอง
-
นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและเขียนประเมินตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสามารถทำอะไรได้ดีแล้ว
และอะไรที่ต้องพัฒนาเกี่ยวกับการเรียนรู้
หน่วย “โลกของจุลินทรีย์” ในครั้งนี้
-
นักเรียนร่วมกันจัดนิทรรศการแสดงผลงาน
- ครูและนักเรียนร่วมสรุปข้อมูลอีกครั้งเพื่อทบทวนความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้ตลอดภาคเรียนที่ 2
- ครูและนักเรียนร่วมกันตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- นักเรียนแต่ละคนสรุปองค์ความรู้หลังเรียนตลอด
ภาคเรียนที่ 2 ในรูปแบบ Mind
Mapping
-นักเรียนแต่ละคนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- ออกแบบ รูปแบบการนำเสนอ เพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
- การเตรียมอุปกรณ์และจัดสถานที่สำหรับนำเสนองาน
- การนำเสนอ และถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับน้องๆ
คุณครูและผู้ปกครอง
- การตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้ สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
- การสรุปองค์ความรู้หลังเรียนตลอด
ภาคเรียนที่ 2 ในรูปแบบ Mind
Mapping
ชิ้นงาน :
-
Mind Mapping หลังเรียนสรุปองค์ความรู้ภาคเรียนที่ 2
- เขียนสิ่งที่ดีแล้ว-สิ่งที่ควรพัฒนา
-
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจเกี่ยวกับถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ
และร่วมเรียนรู้ได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะICT
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์สาระการเรียนรู้กับมาตรฐานและตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้ “โลกของจุลินทรีย์” (Micro Organisms of world)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
| ||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
| |
สร้างฉันทะ สร้างแรงบันดาลใจ
- เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
|
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้
(ว 8.1 ม.2/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้ (ว 8.1 ม.2/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
(ว 8.1 ม.2/7)
- บันทึกและอธิบายจากการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้
(ว 8.1 ม.2/8)
- สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน แสดงบทบาทสมมติ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ม.2/9)
|
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้
(ส1.1 ม.2/9)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(ส1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส1.2
- มีมรรยาทของความเป็น ศาสนิกชนที่ดี
(ส1.2 ม.2/2)
มาตรฐาน ส2.2
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ได้
(ส2.2 ม.2/2)
|
มาตรฐาน ส 4.1
- วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม.2/2)
- ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆที่ตนเองสนใจ
(ส 4.1 ม.3/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- เปรียบเทียบความ เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ (ส 4.2 ม.2/1)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน
(ง 1.1 ม.2 /1)
- เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (ง 1.1 ม.2 /2 )
- มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า
(ง 1.1 ม.2 /3 )
- อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต
(ง 1.1 ม.4-6 /1 )
- สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
(ง 1.1 ม.4-6 /2 )
- มีทักษะในการจัดการทำงาน (ง 1.1 ม.4-6 /3 )
- มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
(ง 1.1 ม.4-6 /4 )
- มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสื่อเพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1 ม.4 /5 )
- มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน
(ง 1.1 ม.4-6 /6 )
|
มาตรฐาน พ 1.1
- ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์ สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้ (พ 1.1 ม.2/2)
มาตรฐาน พ 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(พ 2.1 ม.3/1 )
มาตรฐาน พ 3.1
- ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน (พ 3.1 ม.3/2)
มาตรฐาน พ 3.2
- เลือกเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายเล่นกีฬาตามความถนัดพร้อมทั้งวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง (พ 3.2 ม.2/2)
- มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา และข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกได้ (พ 3.2 ม.3/3)
- นำผลในการปฏิบัติในการเล่นกีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมกับร่างกายของตนเองด้วยความมุ่งมั่นได้
(พ 3.2 ม.3/5)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา น้ำหนัก และวรรณะสี สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ (ศ 1.1 ม.2/3)
|
มาตรฐาน ส2.1
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(ส 2.1 ม.2/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(ส 2.1 ม.2/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
(ส 2.1 ม.2/3)
- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(ส 2.1 ม.2/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(ส 2.1 ม.3/5)
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน (ส 2.2 ม.2/2)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
| ||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
| |
ร่างกาย/สิ่งมีชีวิต
- พืช การปลูกผักกินเอง
- สัตว์ การเลี้ยง ปลา
การออกแบบโรงเรือนเห็ด
|
มาตรฐาน ว1.2
- สำรวจและอธิบายเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ สิ่งมีชีวิตในท้องถิ่นของตนเองที่ทำให้สิ่งมีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล
(ว1.2 ม.3/4)
มาตรฐาน ว2.1
- สำรวจระบบนิเวศต่างๆในโรงเรียน ท้องถิ่น และสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของระบบนิเวศกับสิ่งมีชีวิตได้
(ว 2.1 ม.3/1)
มาตรฐาน ว 2.2
- วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นตนเองพร้อมทั้งเสนอแนวทางในการแก้ไขได้ (ว 2.2 ม.3/1)
มาตรฐาน ว 6.1
- สำรวจ วิเคราะห์และอธิบายการใช้ประโยชน์ การปรับปรุงคุณภาพของดินเพื่อใช้ในการเกษตร ปลูกผักปลอดสารพิษและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ (ว 6.1 ม.2/2)
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้(ว 8.1 ม.2/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้
(ว 8.1 ม.2/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้ (ว 8.1 ม.2/7)
- บันทึกและอธิบายจากการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้
(ว 8.1 ม.2/8)
- สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน แสดงบทบาทสมมติ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ม.2/9)
|
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้
(ส1.1 ม.2/9)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (ส1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส1.2
- มีมารยาทของความเป็น ศาสนิกชนที่ดี
(ส1.2 ม.2/2)
|
มาตรฐาน ส 4.1
- วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์(ส 4.1 ม.2/2)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน (ง 1.1 ม.2 /1)
- เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน (ง 1.1 ม.2 /2 )
- มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า (ง 1.1 ม.2 /3 )
- สามารถทำงานและอธิบายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (ง 1.1 ม.3 /1)
- อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1 ม.4-6 /1 )
- สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
(ง 1.1 ม.4-6 /2 )
- มีทักษะในการจัดการทำงาน (ง 1.1 ม.4-6 /3 )
- มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน
(ง 1.1 ม.4-6 /4 )
- มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับระบบนิเวศเพื่อการดำรงชีวิต (ง 1.1 ม.4 /5 )
- มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน (ง 1.1ม.4-6 /6 )
มาตรฐาน ง 2.1
- มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการตัดต่อคลิปการทำเกษตร
(ง 2.1 ม.2 /3)
- เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคมและสิ่งแวดล้อมและเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (ง 2.1 ม.2 /4)
มาตรฐาน ง 3.1
- ใช้ซอฟแวร์ในการทำงานเช่น Picasa 3, Sony vegas Pro 11 ได้ (ง 3.1 ม.2 /4)
- ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบวีดีโอได้ (ง 3.1 ม.3 /3)
- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างสรรค์ชิ้นงานได้จากจินตนาการอย่างมีจิตสำนึกและความรับผิดชอบ (ง 3.1 ม.3 /4)
- ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต(ง 3.1 ม.4-6/9)
- อธิบายข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ง 3.1 ม.4-6/13)
|
มาตรฐาน พ 1.1
- ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์ สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้
(พ 1.1 ม.2/2)
มาตรฐาน พ 2.1
- เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(พ 2.1 ม.3/1 )
มาตรฐาน พ 3.1
- ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน (พ 3.1 ม.3/2)
มาตรฐาน พ 3.2
- เลือกเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายเล่นกีฬาตามความถนัดพร้อมทั้งวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง
(พ 3.2 ม.2/2)
- มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา และข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกได้ (พ 3.2 ม.3/3)
- นำผลในการปฏิบัติในการเล่นกีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมกับร่างกายของตนเองด้วยความมุ่งมั่นได้ (พ 3.2 ม.3/5)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา น้ำหนัก และวรรณะสี -สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังแลภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ (ศ 1.1 ม.2/3)
|
มาตรฐาน ส2.1
- สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
(ส 2.1 ม.2/1)
- เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
(ส 2.1 ม.2/2)
- วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้(ส 2.1 ม.2/3)
- สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
(ส 2.1 ม.2/4)
- สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
(ส 2.1 ม.3/5)
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
(ส 2.2 ม.2/2)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
| ||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
|
ประวัติศาสตร์
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
| |
จุลินทรีย์ รา แบคทีเรีย
- ประโยชน์และโทษของ จุลินทรีย์ รา แบคทีเรีย
- การทดสอบสารอาหาร
- การทำไวน์
|
มาตรฐาน ว 1.1
- อธิบายโครงสร้างและการทำงานของระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจระบบประสาทที่สอดคล้องกับพฤติกรรมการกินได้ (ว1.1 ม.2/1)
- อธิบายความสัมพันธ์ของระบบต่างๆของร่างกาย รวมทั้งสังเกตพฤติกรรมของมนุษย์ สัตว์ และสิ่งมีชีวิตที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกและภายในได้
(ว1.1 ม.2/2-3)
- อธิบายเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันทางการเกษตร รวมทั้งนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้
(ว1.1 ม.2/4)
- สามารถทดลองวิเคราะห์และอธิบายสารอาหารในอาหาร มีปริมาณพลังงาน และสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัยได้
(ว1.1 ม.2/5)
- อธิบายเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย และนำความรู้ไปใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพได้ (ว1.1 ม.4-6/4)
มาตรฐาน ว 1.2
- สำรวจและอธิบายเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ แหล่งอาหารในท้องถิ่นของตนเองที่ทำให้สิ่งมีชีวิตดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล
(ว1.2 ม.3/4)
มาตรฐาน ว 2.1
- สำรวจระบบนิเวศต่างๆในท้องถิ่นและสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของระบบนิเวศกับสิ่งมีชีวิตได้ (ว 2.1 ม.3/1)
มาตรฐาน ว 2.2
- วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นตนเองพร้อมทั้งเสนอแนวทางในการแก้ไขได้ (ว 2.2 ม.3/1)
มาตรฐาน ว 6.1
- สำรวจ วิเคราะห์และอธิบายการใช้ประโยชน์ การปรับปรุงคุณภาพของดินเพื่อใช้ในการเกษตรและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้
(ว 6.1 ม.2/2)
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้
(ว 8.1 ม.2/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้
(ว 8.1 ม.2/4)
- สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
(ว 8.1 ม.2/7)
- บันทึกและอธิบายจากการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้ (ว 8.1 ม.2/8)
- สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน แสดงบทบาทสมมติ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
|